365WECARE

MEGA We Care Calcium-D 90เแคปซูล. เมก้า วีแคร์ แคลเซี่ยม ดี

เสริมสร้างและบำรุงกระดูก

เมก้า วีแคร์ แคลเซี่ยม ดี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแคลเซียม เป็นสูตรที่ให้แคลเซียมอิสระในปริมาณสูง และเป็นแคลเซียมเหลว หมดปัญหาเรื่องการละลาย สามารถดูดซึม เพื่อไปใช้เสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรงได้ทันที ราคาประหยัด จัดส่งทุกวัน

รหัสสินค้า: 07580

เลขที่จดแจ้ง / เลข อย. :11-1-32732-1-0794

สถานะ: มีสินค้าใน stock

เลือกจำนวน :

1 ชิ้น

ราคา 286 ฿710

60 %

linebutton_qalinebutton_share

รายละเอียดสินค้า

MEGA We Care Calcium-D 90เแคปซูล. เมก้า วีแคร์ แคลเซี่ยม ดี

MEGA We Care Calcium-D 90เแคปซูล.

เมก้า วีแคร์ แคลเซี่ยม ดี

จุดเด่น

ผลิตภัณฑ์แคลเซียมและวิตามินดี ในรูปแบบแคปซูลเหลว มีส่วนช่วยในการสร้างกระดูกและฟันที่แข็งแรง

เหมาะสำหรับ

ผู้ที่ต้องการเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่กระดูก หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และผู้สูงอายุ

ส่วนประกอบสำคัญ :  ใน 1 แคปซูล ประกอบด้วย

✿    แคลเซียมคาร์บอเนต 1,500 มก. เทียบเท่ากับแคลเซียม 600 มิลลิกรัม

✿    วิตามิน ดี3 (1.0 MIU/g) 0.2 มก. (เทียบเท่าวิตามิน ดี3 200 หน่วยสากล)

 

ขนาดรับประทาน :

วันละ 1 แคปซูล พร้อมอาหาร

 

คำเตือน

✿    เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน

✿    ควรกินอาหารหลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจำ

✿    ไม่มีผลในการกัน หรือรักษาอาการใดๆที่ต้องดำเนินการโดยแพทย์

เลขที่ ฆอ : 2636/2564 โฆษณานี้ได้รับการอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

เลขอ.ย. : 11-1-32732-1-0794

แคลเซียมกับการเกิดโรคกระดูกพรุน

ในหนึ่งวัน คนไทยต้องได้รับแคลเซียม 800-1,500มก. แต่ปัจจุบันคนไทยได้รับแคลเซี่ยมเฉลี่ยเพียง 361มก. ซึ่งไม่เพียงพอ หากร่างกายเราได้รับ แคลเซียมไม่เพียงพอ ร่างกายจะดึงแคลเซียมที่สะสมในกระดูกมาใช้ เมื่อเกิดขึ้นเป็นประจำ แคลเซียมถูกดึงออกมาใช้มากจนกระทั้งกระดูกพรุน เปราะบางทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง แตกหักได้ง่ายแม้จะได้รับการกระแทกเพียงเล็กน้อย ซึ่งอาการเหล่านี้ เป็นอาการของโรคกระดูกพรุน  ในระยะแรกโรคนี้จะไม่แสดงอาการออกมา จนกระทั่งมีความรุนแรงมากขึ้นจึงแสดงอาการออกมา เช่นปวดหลังเรื้อรัง หลังค่อมเนื่องจากการยุบตัวของกระดูกสันหลัง หรือกระดูกสะโพกหักทำให้เดินไม่ได้เหมือนเดิม และเกิดภาวะแทรกซ้อนอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต 

ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกพรุน 

1. ผู้ที่อายุ 30 ปีขึ้นไป พบว่าการสะสมแคลเซียมในกระดูกจะมีค่าเท่ากับศูนย์ นั่นคือ ขบานการสะสมแคลเซียมในกระดูกกับการสลายแคลเซี่ยมออกจากกระดูกมีค่าเท่ากัน พออายุเพิ่มมากขึ้น ความสามารถในการสะสมแคลเซียมในกระดูกจะน้อยกว่าขบวนการสลายแคลเซียมออกจากระดูก ทำให้เนื้อกระดูกบางลง

2. หญิงวัยหมดประจำเดือน ฮอร์โมนเพศที่ลดลง ทำให้ขบวนการสลายแคลเซียม เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดโรคกระดูกพรุนได้ไวขึ้น

3. ผู้ที่ดึ่มกาแฟเป็นประจำ พบว่าการดึ่มกาแฟเป็นประจำจะรบกวนการดูดซึมแคลเซียมเข้าสู่ร่างกาย

4. ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย

5. ผู้ที่ดึ่มสุราเป็นประจำ

6. ผู้ที่สูบบุหรี่

7. ผู้ที่ขาดแคลเซียมหรือวิตามินดี 

ปริมาณแคลเซี่ยมที่แนะนำให้คนไทยบริโภคต่อวัน

shopping_cart
0