แบรนด์
บทความ
ไข้หวัด (Flu/Cold)
ภาวะเสื่อมสมถรรภาพทางเพศ (Erectile dysfunction)
ปวด บวม ช้ำ (Brunt Trauma)
ร้องโคลิก (Colic)
เวียนหัว บ้านหมุน (Vertigo)
ท้องร่วง (Diarrhea)
CVS หรือ Computer Vision Syndrome
ไขมันพอกตับที่มีการอักเสบร่วมด้วย (NASH)
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral Neuropathy)
ไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
เบาหวาน (Diabetes)
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
เก๊าท์ (Gout)
ความจำเสื่อมและอัลไซเมอร์ (Dementia /Alzheimers)
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
ริดสีดวงทวารหนัก (Hemorrhoids)
ภูมิแพ้ทางผิวหนัง (Skin Allergy)
โรคอ้วน (Obesity)
ตับอักเสบ (Hepatitis)
ลำไส้แปรปรวน (Irritable Bowel Syndrome)
สตรีวัยทอง (Menopause)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
ตกขาว (Leucorrhea)
เครียด นอนไม่หลับ (Stress and Insomnia)
ข้ออักเสบจากข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ไมเกรน (Migraine)
ผมร่วง (Hair Loss)
สิว (Acne)
ตาแห้ง (Dry eyes)
ภูมิแพ้ทางเดินหายใจ (Respiratory allergy)
กรดไหลย้อน (GERD)
ท้องผูก (Constipation)
ผู้สูงอายุ (Elder care)
โรคไต (Chronic Kidney Disease)
นอนติดเตียง (Bedridden)
หอบหืด (Asthma)
เริม (Herpes Simplex)
กระเพาะอาหารอักเสบ (Peptic Ulcer Disease)
ไทรอยด์เป็นพิษ (Hypothyroidism)
ปวดประจำเดือน (Labor Pain Management)
ปวดหลัง (Chronic Lower back Pain)
สะเก็ดเงิน (Psoriasis)
ต้อกระจก (Cataract)
จอประสาทตาเสื่อม (Macular Degeneration)
เส้นเลือดขอด (Varicose Vein)
แผลกดทับ (Bed Sore)
แผ่นมาส์กผิวหน้า (Facial mask)
ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)
ผิวบอบบางแพ้ง่าย (Sensitive skin)
ผิวริ้วรอย..แก่ก่อนวัย (Wrinkle Skin)
ฝ้า กระ จุดด่างดำ ผิวหมองคล้ำ
ผลิตภัณฑ์ป้องกันผมร่วง (Anti-Hair loss Shampoo)
หนังศีรษะบอบบาง (Sensitive scalp Shampoo)
ผิวแตกลาย (Anti Stretch Mark)
ผลิตภัณฑ์สำหรับจุดซ่อนเร้น
กลุ่มอโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
บำรุงรอบดวงตา
ผลิตภัณฑ์กันแดดสำหรับเด็ก
เวชสำอางสำหรับสิว (Acne Dermocosmetics)
บำรุงผิวน้ำมันมะพร้าว
สกินแคร์ออร์แกนิค
ผิวแห้ง แดง คัน ระคายเคือง
ผิวแห้ง ผิวขาดความชุ่มชื้น
ผลิตภัณฑ์ครีมกันแดด (Sun Block& Sun Screen)
แชมพูกำจัดรังแค (Anti-Dandruff Shampoo)
ทิชชู่เปียกและผ้าเปียก (Cleansing Wipes)
แผ่นแปะเท้าและแก้ปวดเมื่อย (Foot Pads and Medicated Plaster)
กระบอกฉีดยาและเข็มฉีดยา (Syringe and Hypodermic needle)
ชุดเข็มให้น้ำเกลือ (Set IV)
ผ้าก๊อซต่างๆ (Gauze pad)
แอลกอฮอล์และน้ำยาฆ่าเชื้อ (Alcohol & Disinfecting solution)
แป้นถ่ายติดหน้าท้อง พร้อมถุงถ่ายหน้าท้อง (Valore Fianges Ring Size)
กระบอกและเข็มฉีดยา สำหรับอินซูล (Insulin Syringe&Needle)
หน้ากากสุขภาพ (Mask)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคตับ (Liver disease Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับเด็ก (Infant&Kids Nutrition)
อาหารทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วยภูมิต้านทานลดลง
อุปกรณ์พยุงหลัง (Back Support)
อุปกรณ์พยุงข้อเท้า (Ankle Support)
อุปกรณ์พยุงข้อมือ (Wrist Support)
อุปกรณ์พยุงข้อศอก (Elbow Support)
ถุงน่องลดเส้นเลือดขอด (Compression Stocking)
อุปกรณ์พยุงก้นกบ (LS Support)
หมอนโดนัทสำหรับรองนั่ง (Ergonomic Donuts Pillow)
อุปกรณ์ล้างจมูก (Nasal Rinsing System)
น้ำยาล้างตา (Eye Lotion)
อุปกรณ์สวนล้างลำไส้ (Detox Set)
เครื่องวัดความดัน (Blood Pressure Monitor)
อุปกรณ์พยุงเข่า (Knee Supporter)
เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (Blood Glucose Monitor)
รถเข็นผู้ป่วย (Wheel Chair)
แผ่นให้ความร้อน (Heating Pad)
ที่นอนลม (Mattress)
เครื่องพ่นยา (Portable Phlegm Nebulizer)
เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen Concentrator)
ถังออกซิเจน (Oxygen Tank)
อุปกรณ์พยุงนิ้วหัวแม่มือ (Thumb Stabilizer)
อุปกรณ์พยุงกล้ามเนื้อ แขนท่อนล่าง(Tennis Elbow Strap)
อุปกรณ์ประคองนิ้วโป้งเท้า (Toe Separator)
อุปกรณ์รองส้นเท้า (Heel Cap Central Spur)
อุปกรณ์ลดการเสียดสีของเท้า (Elastic Bunion Aid)
อุปกรณ์ประคองแขนและไหล่ (Arm & Shoulder Sling)
อุปกรณ์ประคองคอ (Cervical Collar)
แผ่นรองซับ (Incontinent pad)
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปสำหรับผู้ใหญ่ (Adult Tape Diaper)
ถุงมือทางการแพทย์ (Examination Glove)
ผ้ายกตัว (The easiest way to transfer)
พลาสเตอร์และอุปกรณ์ทำแผล (Bandage&Wound Dressing)
อุปกรณ์เพื่อหัดเดิน (Walking aid)
อุปกรณ์ดูแลเท้า (Foot Care)
เครื่องดูดเสมหะ (Suction Machine)
เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Digital Thermometer)
ไม้เท้าและอุปกรณ์ค้ำ (Canes&Crutches)
เก้าอี้นั่งถ่าย (Commode Chair)
สารอาหาร
สารสกัดเมล่อน Melon Extract (SOD)
BCAA (Branched-chain amino acids)
สาหร่ายเกลียวทอง (Spirulina)
มะเขือพวง (Pea Eggplant)
ตังกุย (Dong quai)
ขิง (Ginger)
เห็ดหลินจือ (Reishi)
ขมิ้นชัน (Tumeric)
แคลเซี่ยม (Calcium)
Licorice (Glycyrrhiza glabra)
เควอซิทีน Quercetin
วิตามินบีรวม (Vitamin B Complex)
D-Manose
สารสกัดจากพริก (Capsaisin)
สาหร่ายเคลป์ (Kelp)
โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Extract)
หลินจือสกัด (Lingzhi Extract)
กระชายดำ (Krachaidum)
หอยนางรมสกัด (Oyster Extract)
พริกไทยดำสกัด Black Pepper
คริลล์ออย (Krill Oil) (กุ้งขนาดเล็ก หรือ เคย)
น้ำมันปลาทูน่า (Tuna Oil)
โกจิเบอรี่สกัด (Gojiberry Extract)
ดอกดาวเรืองสกัด (Marigold Extract)
อินนูลิน (Inulin)
ไซเลียมฮัสค์ (Psyllium Husk)
ผงใบอ่อนข้าวบาร์เลย์ (Barley powder)
น้ำมันมะพร้าว (Coconut Oil)
น้ำมันดาวอินคา (Sacha Inchi Oil)
อัลบูมิน ไข่ขาว (Egg Albumin Powder)
CLA (Conjugate Linoleic Acid)
พรมมิ (Bacopa monnieri)
ผลกุหลาบป่า (Rose Hip)
เวย์โปรตีน (Whey Protein)
Fructo-oligosacharide (FOS) หรือ Oligofructose
ธาตุเหล็ก (Iron)
สารสกัดจากมิลเลท Millet Extract
แอล-ซิสเทอีน L-Cysteine
สารสกัดมะขามป้อม Amla extract
แพล้นท์สเตอรอล (Plant Sterol)
กลูตาไธโอน Glutathione
ฮอร์โมนดีเอชอีเอ (DHEA)
Acethyl-L-Carnitine (อะเซตทิลแอลคาร์นิท)
ถั่งเช่า (Cordyceps)
Resveratrol (เรสเวอราทรอล)
วิตามินเอ Vitamin A and Betacarotine
สาหร่ายทะเล SeaWeed
สารสกัดเปลือกสน (Pine Bark Extract Pycnogenol)
ฟอสฟาติดิวเซอร์ลีน (Phosphatidyl-Serine)
โพลีโคซานอล (Policosanol)
วิธีสั่งซื้อ
Mega We Care LECITHIN 1200 MG. เลซิติน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร บรรจุ 200 แคปซูล
Lecithin เคล็ดลับเสริมความจำและบำรุงตับ
เลซิติน (Lecithin) คือสารประกอบระหว่างกรดไขมันจำเป็น ฟอสฟอรัส และวิตามินบี 2 ตัว ได้แก่ โคลีน(Choline) และอินอสซิตอล (Inositol) สามารถพบเลซิตินได้ในทุกเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ สำหรับร่างกายของมนุษย์นั้น จะพบมากในอวัยวะสำคัญ เช่น หัวใจ ตับ ไต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมองมีเลซิตินเป็นส่วนประกอบมากถึง 30% ซึ่งเลซิตินจำเป็นต่อการควบคุมกระบวนการต่างๆ ภายในเซลล์ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยปกติแล้วเราได้รับเลซิตินจากอาหารทั่วไปอยู่แล้ว แต่อาจไม่เพียงพอต่อร่างกาย
เลซิติน พบได้ตามธรรมชาติจาก 2 แหล่ง ที่สำคัญ คือ
ร่างกายมนุษย์ สามารถผลิต “เลซิติน” ขึ้นได้เองที่ “ตับ“ สารตั้งต้นที่ร่างกายใช้ผลิตเลซิติน เช่น กรดไขมันจำเป็น วิตามินบี และสารอาหารสำคัญอื่นๆ หากร่างกายได้รับสารอาหารต่างๆ เหล่านี้ไม่เพียงพอจะส่งผลให้ร่างกายสร้างเลซิตินได้ไม่เพียงพอ
แหล่งธรรมชาติ พบได้ทั้งในพืชและสัตว์ โดยจะพบมากในไข่แดง ถั่วเหลือง เมล็ดทานตะวัน ถั่วลิสง จมูกข้าวสาลี เป็นต้น แต่อาหารเหล่านี้ก็จะให้โคเลสเตอรอลสูงตามไปด้วย
การรับประทานเลซิตินเสริมจึงมีความจำเป็นอย่างมาก ปัจจุบันเลซิตินมักจะสกัดได้จาก ไข่แดง และถั่วเหลือง ซึ่งถั่วเหลืองจะเป็นแหล่งที่ดีในการสกัดเลซิติน เพราะไม่มีไขมันโคเลสเตอรอล และยังอุดมไปด้วยโปรตีนที่มีคุณค่าต่อร่างกายมากกว่า โดยร่างกายของเราต้องการเลซิตินวันละ วันละ 6 กรัม ส่วน Choline ต้องการวันละ 0.6-1 กรัม ซึ่งในอดีตไม่ค่อยพบว่ามีการขาดสารเลซิติน แต่ปัจจุบันคนนิยมรับประทานอาหารที่มีไขมันต่ำ จึงอาจจะทำให้เกิดการขาดสารเลซิตินได้
เลซิติน…ช่วยเสริมความจำ กันสมองเสื่อม
จากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ของ อเดลล์ เดวิส นักโภชนาการชาวสหรัฐ ได้รายงานว่าในร่างกายของคนที่มีสุขภาพดี จะมีสารเลซิตินอยู่ในสมองถึง 30% ของน้ำหนักทั้งหมด เลซิตินจึงมีความสำคัญต่อสมอง
ในปี 1975 นักวิทยาศาสตร์แห่งสถาบันเทคโนโลยี Massachusetts ค้นพบว่าโคลีนในเลซิติน เป็นสารจำเป็นที่ร่างกายจะนำไปใช้เพื่อสร้างสารสื่อประสาท (Neurotransmitters) ที่เรียกว่า อะเซทิลโคลีน (Acetylcholine) ที่จะช่วยในการส่งข้อมูลระหว่างเซลล์สมองแต่ละเซลล์ และระหว่างสมองกับการสั่งงานไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และทำหน้าที่ในการถ่ายทอดข้อมูลและความรู้สึกเพื่อให้แสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ตามความต้องการของสมอง
ปัจจุบันการรักษาทางการแพทย์ได้ใช้เลซิตินในการบำบัดโรคทางสมองต่าง ๆ เช่น Parkinson’s Disease, Alzheimer’s Disease, Tardive Dyskinesia ซึ่งเป็นโรคทางสมอง ที่เกิดจากเซลล์ประสาทขาดสาร Acetylcholine หรือคนชราที่ป่วยเป็นโรคความจำเสื่อม พบว่าบางคนอาจจะมีอาการดีขึ้นเมื่อได้รับประทานเลซิติน วันละ 25 กรัม เป็นเวลาหลาย ๆ เดือนติดต่อกัน และการศึกษาในผู้ที่เป็นโรคความจำเสื่อม (Alzheimer’s Disease) ระยะเริ่มแรก พบว่าการให้โคลีนเป็นระยะเวลา 6 เดือนจะช่วยให้ความจำดีขึ้นได้ หรือการให้โคลีนร่วมกับยาที่ใช้รักษา (Cholinesterase inhibitors) ก็ทำให้มีการพัฒนาความสามารถที่ต้องใช้ความจำด้วย
สภาพสังคมในปัจจุบันคนส่วนใหญ่จะเกิดความเครียดสูง หลงลืม หงุดหงิด นอนไม่หลับ และอารมณ์เสียง่าย ซึ่งเป็นอาการเริ่มต้นของโรคเส้นประสาทเสื่อม พบว่าอาการดังกล่าวอาจบำบัดได้โดยการรับประทานเลซิติน
เลซิติน…ช่วยบำรุงตับ ลดการทำลายเซลล์ตับ
สารสำคัญที่พบในเลซิติน คือ ฟอสฟาทิดิลโคลีน (Phosphatidylcholine) เป็นสารที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ทุกชนิดในร่างกาย รวมทั้งเซลล์ตับ นอกจากนั้นฟอสฟาทิดิลโคลีนยังมีฤทธิ์ในการ ช่วยกันการเกิดความผิดปกติจากยา แอลกอฮอล์ สารเคมี สารพิษต่างๆ ที่มีส่วนในการทำลายตับ ดังนั้นฟอสฟาทิดิลโคลีน ในเลซิตินจึงมีบทบาทในการช่วยซ่อมแซมเซลล์ตับได้ การใช้เลซิตินในการบรรเทาโรคตับชนิดต่างๆ
โรคตับจากแอลกอฮอล์ จากรายงานทางการแพทย์ของ Lieber และคณะในปี ค.ศ. 2003 โดยมีผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 789 ราย จะได้รับฟอสฟาทิดิลโคลีน จากผลการตรวจชิ้นเนื้อของตับที่ 24 เดือน หลังจากการรักษาพบว่าผู้ป่วยโรคตับจากแอลกอฮอล์ที่ได้รับฟอสฟาทิดิลโคลีน มีแนวโน้มที่ดีและค่าเอมไซม์ของตับดีขึ้น
โรคตับจากยา จากการศึกษาทางการแพทย์พบว่ามีการศึกษาการกันตับอักเสบในผู้ป่วยที่รับยาต้านวัณโรค จำนวนคนไข้ 340 คน โดยได้รับยาต้านวัณโรคร่วมกับฟอสฟาทิดิลโคลีน 900 มิลลิกรัมต่อวัน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับฟอสฟาทิดิลโคลีน พบว่ากลุ่มคนไข้ที่ได้รับยาต้านวัณโรคร่วมกับฟอสฟาทิดิลโคลีน ไม่พบค่าความผิดปกติของค่าเอมไซม์ของตับ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับฟอสฟาทิดิลโคลีน กลับพบว่าค่าค่าเอมไซม์ของตับสูงขึ้นกว่าปกติ
โรคตับจากภาวะไขมันพอกตับ ไขมันพอกตับหรือที่เรียกว่า Nonalcoholic fatty liver disease (NAFLD) หมายถึงภาวะที่มีไขมันอยู่ในเซลล์ตับโดยที่คนนั้นไม่ได้ดื่มสุรา เซลล์ไขมันนี้จะไม่ก่อให้เกิดการเสียหายหรืออักเสบกับตับในระยะแรก แต่ก็มีผู้ป่วยบางส่วนที่ไขมันทำให้เกิดการอักเสบของตับ จนในก็จะเป็นตับแข็ง Cirrhosis
เลซิตินช่วยลดการเกิดภาวะไขมันพอกตับได้เพราะอะไร?
โคลีนในเลซิตินเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการทำงานของเซลล์ โดยเฉพาะเซลล์ตับ พบว่าหากขาดโคลีนจะทำให้เกิดภาวะไขมันพอกตับได้
โคลีนจะมีผลในการเร่งการเผาผลาญไขมันที่ตับ ทำให้ไขมันถูกนำไปใช้เป็นพลังงานมากขึ้น
เลซิตินมีผลในการช่วยลดไขมันในเลือด โดยเฉพาะไขมันโคเลสเตอรอลที่เป็นตัวการสำคัญในการทำให้เกิดภาวะไขมันพอกตับ ดังนั้นการรับประทานเลซิตินจะทำให้ลดโอกาสเกิดภาวะไขมันพอกตับได้
เลซิติน…ช่วยลดไขมันโคเลสเตอรอล กันโรคสมองและหัวใจขาดเลือด
จากคุณสมบัติของไขมันโคเลสเตอรอลที่ไม่ละลายรวมตัวกับน้ำ ทำให้ไขมันโคเลสเตอรอลไม่ละลายในเลือด แต่จะจับตัวเป็นก้อนตกตะกอนอยู่ตามผนังเส้นเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดหลอดเลือดอุดตัน และโรคสมองและหัวใจขาดเลือดตามมาได้ใน ซึ่งเลซิตินจะมีคุณสมบัติช่วยทำให้ไขมันโคเลสเตอรอลและน้ำรวมตัวกันได้ดีขึ้น ส่งผลให้ไขมันโคเลสเตอรอลไม่เกาะติดกับผนังเส้นเลือดจนเกิดการอุดตัน และช่วยเพิ่มระบบไหลเวียนเลือดให้ดีขึ้น นอกจากนั้นเลซิตินช่วยลดปริมาณไขมันโคเลสเตอรอลในเลือด โดยช่วยในกระบวนการเผาผลาญไขมันของตับ ส่งผลให้ร่างกายมีการนำไขมันไปใช้เป็นพลังงานได้ดีขึ้น
นอกจากนั้นเลซิตินยังมีส่วนช่วยลดการดูดซึมและเพิ่มการขับถ่ายไขมันโคเลสเตอรอลทางอุจจาระ และยังช่วยเพิ่มสัดส่วนของไขมันเอช ดี แอล โคเลสเตอรอล (HDL-Cholesterol) ที่เป็นไขมันชนิดดี ที่มีหน้าที่นำพาไขมันที่สะสมและอุดตันตามผนังเส้นเลือดกลับไปทำลายที่ตับ ส่งผลในการช่วยลดระดับไขมันโคเลสเตอรอลได้อีกทางหนึ่ง
เลซิติน…..ประโยชน์ด้านอื่น ๆ ต่อสุขภาพ
ช่วยกันการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี ในผู้ที่มีภาวะไขมันโคเลสเตอรอลในเลือดสูง
เลซิตินเป็นองค์ประกอบของเยื่อบุผิวของเซลล์ เพราะร่างกายจะนำเลซิตินไปใช้ในการสร้างเยื่อบุผิวเซลล์ต่างๆ เช่น เซลล์เม็ดเลือด เซลล์กล้ามเนื้อ เซลล์ผิวหนัง รวมถึงเซลล์ของอวัยวะต่างๆ
ช่วยในกระบวนการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมันได้ดีขึ้น การรับประทานเลซิติน จะช่วยให้ร่างกายสามารถนำวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ ดี อี และ เค ดูดซึมและนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยควบคุมน้ำหนักของร่างกาย เพราะ เลซิตินจะช่วยทำให้ไขมันกระจายตัวเป็นอนุภาคเล็ก ๆ ที่แขวนลอยในน้ำ ซึ่งจะทำให้ร่างกายเผาผลาญไขมันโคเลสเตอรอลได้ดีขึ้น
เลซิตินที่ดี ต้องปลอดสารฟอกสี
ปัจจัยสำคัญในการเลือกสารอาหารจากธรรมชาติ ต้องคำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัยที่จะได้รับเป็นสำคัญ ซึ่งการเลือกเลซิตินที่ต้องสกัดจากถั่วเหลือง และเป็นวัตถุดิบ “เกรดเอ” ที่ปราศจากการสารฟอกสี การแต่งสี แต่งรส เท่านั้น เนื่องจากสารฟอกสีเป็นสารที่มักจะนิยมใช้ในกระบวนการการผลิตเลซิติน ซึ่งเป็นอันตรายก่อให้เกิดภาวะตับอักเสบ และตับแข็งได้ถ้ารับประทานต่อเนื่องในระยะยาว
ดังนั้นจึงควรเลือกเลซิตินที่ผลิตภายใต้มาตรฐานการผลิตยา ระดับสากล ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจาก
GMP ของประเทศไทย
BfArM ของประเทศเยอรมัน
TGA ของประเทศออสเตรเลีย
ที่จะมั่นใจในคุณภาพของเลซิตินได้ว่าผ่านการคัดสรรและขั้นตอนการผลิตที่ได้มาตรฐาน จึงทำให้สามารถมั่นใจในเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยในการรับประทาน และมั่นใจว่าได้รับเลซิตินที่ ปราศจากสารฟอกสี สารแต่งสี และรส เพื่อการส่งเสริมสุขภาพที่ดีและความปลอดภัยต่อร่างกายในระยะยาว
ขนาดการรับประทานที่เหมาะสมของเลซิติน (Lecithin) รับประทานวันละ
– เพื่อเสริมความจำ กันสมองเสื่อม 1,200-3,600 มิลลิกรัม
– เพื่อบำรุงตับ ลดการทำลายเซลล์ตับ 1,200-3,600 มิลลิกรัม
– เพื่อลดไขมันโคเลสเตอรอล กันโรคสมองและหัวใจขาดเลือด 3,600-7,200 มิลลิกรัม
วิธีรับประทาน : รับประทานครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 1-3 ครั้ง พร้อมอาหาร
เลขที่ อย. : 11-1-32732-1-0129
หมายเหตุ :
1. กรุณาอ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค
2. เด็ก, สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร ไม่ควรรับประทาน
3. ผลิตภัณฑ์นี้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ไม่มีผลในการกันและรักษาอาการใดๆที่ต้องดำเนินการโดยแพทย์ ผลลัพธ์ไม่สามารถเกิดขึ้นกับผู้ใช้ทุกคน อาจมีผลกับแต่ละบุคคลเท่านั้น
4. การได้รับสารอาหารนั้นควรได้จากการบริโภคอาหารหลักครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นประจำ