เริม (Herpes Simplex)

เริม (Herpes Simplex)

เริม (Herpes Simplex) 

 

     เริมคือโรคติดเชื้อไวรัส เป็นโรคติดต่อเมื่ออาการกาเริบและสามารถแพร่กระจายผ่านการสัมผัสน้าลายหรือผิวหนัง โรคนี้ไม่มีวิธีการรักษาให้หายขาด แต่มักจะหายไปได้เองใน 1-2 สัปดาห์ มีลักษณะเป็นตุ่มน้าใสๆ เล็กๆ (Blisters) มักจะทาให้เจ็บบริเวณที่ติดเชื้อ ได้แก่ ปาก อวัยวะเพศ ทวารหนัก บั้นท้ายหรือต้นขา อาจมีอาการเจ็บปวดหรือแสบที่บริเวณแผล หากเป็นการติดเชื้อครั้งแรกจะมีอาการค่อนข้างรุนแรงและหายช้า แต่ถ้าหากเป็นการติดเชื้อซ้า อาการจะไม่รุนแรงและหายได้เร็วกว่า เมื่อติดเชื้อนี้แล้วเชื้อจะอยู่ในร่างกายไปตลอดชีวิต 

คุณติดเชื้อเริมได้อย่างไร? 

     เริมมีสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส Herpes Simplex Virus (HSV) สามารถแบ่งออกเป็น อีก 2 ชนิดย่อยๆ คือ HSV-1 และ HSV-2 ซึ่งสามารถติดต่อกันได้จากคนสู่คนผ่านการสัมผัสเชื้อโดยตรง เช่น การสัมผัสกับแผล, การใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกันทางน้าลายโดยการจูบ ทานอาหารหรือดื่มน้าร่วมกัน ทางเพศสัมพันธ์และกิจกรรมทางเพศที่ไม่มีการป้องกัน โดยเฉพาะการสัมผัสกับน้าคัดหลั่งโดยตรง 

 

อาการของโรคเริม 

 

     อาการของเริมทุกบริเวณนั้นค่อนข้างคล้ายกัน โดยจะมีตุ่มน้้าใส (Blisters) บริเวณที่ติดเชื้อ ได้แก่ ปาก อวัยวะเพศ ทวารหนัก บั้นท้ายหรือต้นขา อาจแตกเป็นแผลตื้นๆ มักมีอาการเจ็บ ปวดแสบร้อน โดยแผลจะค่อยๆ ตกสะเก็ดและหายในระยะเวลาประมาณ 2-6 สัปดาห์ อาจมีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะหรือต่อมน้าเหลืองโตร่วมด้วยได้ แต่ถ้าหากเป็นการติดเชื้อซ้า อาการจะไม่รุนแรงและหายได้เร็วกว่า เชื้อจะคงอยู่ในร่างกายตลอดชีวิต แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่ทาให้เกิดอาการ อาการจะกลับเป็นซ้าได้เมื่อร่างกายอ่อนแอลงเช่น ป่วย, พักผ่อนไม่เพียงพอ ร่วมกับปัจจัยกระตุ้นต่างๆ 

 

ปัจจัยใดบ้างที่สามารถกระตุ้นทำให้เริมเกิดซ้ำ

 

 ความเครียด 


 โดนแสงแดดหรือลมที่มากเกินไป 


 รอยถลอกขีดข่วน 


 การเจ็บป่วยจากโรคอื่น 


 การได้รับยากดภูมิคุ้มกัน เช่น สเตียรอยด์ 


 การผ่าตัดที่กระทบกระเทือนต่อเส้นประสาท 


 การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน (การมีประจาเดือนในผู้หญิง) 

 

3 ช่องทางแพร่กระจายโรคเริม

  •    enlightened ทางเพศสัมพันธ์ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นทางช่องคลอด องคชาต ปากมดลูก ทวาร หรือปาก ผ่านรอยถลอกของผิวหนัง หรือทางเยื่อเมือก ไม่ว่าจะเป็นน้ำลาย สารคัดหลั่ง แม้กระทั่งการจูบ
  •    enlightened สัมผัสผู้ที่เป็นโรค ที่ทั้งแสดงอาการ หรือไม่แสดงอาการ เช่น ผื่นตุ่มน้ำ รอยโรค มือติดโรคแล้วป้ายเข้าตา
  •    enlightened การกินและการใช้ของใช้ร่วมกัน

 

การรักษาและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเริม 

  1. 1. อาการส่วนใหญ่จะไม่รุนแรงและหายเองได้ โดยเฉพาะเริมที่กลับเป็นซ้ำ
  2. 2. ผู้ป่วยควรพักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ
  3. 3. หากมีใข้สูง ควรใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวบ่อยๆ และรับประทานยาพาราเชตามอลเพื่อลดไข้
  4. 4. ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะเกาบริเวณแผล เพื่อป้องกันมิให้ตุ่มติดเชื้อกลายเป็นหนองและแผลเป็น
  5. 5. ใช้น้ำเกลือกลั้วปากและคอหา กมีแผลในปาก
  6. 6. ทำความสะอาดแผลหากมีการแตกของแผลหรือตกสะเก็ด ด้วยสารทำความสะอาดแผล เช่น สำลี, ผ้าก็อซ,แอลกอฮอล์, เบตาดีน, น้ำเกลือ
  7. 7. รับประทานหรือทายาต้านไวรัส เช่น ยาอะไซโคลเวียร์ (Acyclovir)ยาวาลาไซโคลเวียร์ (Valacyclovir) อย่างต่อเนื่องให้ครบคอร์สซึ่งมีทั้งรูปแบบยาเม็ตกินและครีมทา สำหรับการรับประทานยาต้านไวรัสภายใน 48 ชั่วโมงหลังมีอาการ การศึกษาพบว่าสามารถดระยะเวลาการเกิโรคการแร่เชื้อและลดระยะเวลาเจ็บป่วยได้เนื่องจากยามีผลข้างเคียงต่อไต ซึ่งผู้ป่วยโรคไตต้องปรับขนาดยาตามการทำงานของไตโดยอยู่ในการดูแลของแพทย์สำหรับโรคเริมที่เกิดบริเวณอวัยวะเพศยาต้านไวรัสชนิดทาอาจได้ผลน้อย ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัซกรก่อนใช้ยา
  8. 8. หลีกเสี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นให้เริมเกิดเป็นซ้ำ ถ้าเริมเป็นซ้ำบ่อยมากกว่า 6 ครั้งต่อปีหรือเริมที่เป็นซ้ำอาการรุนแรงขึ้น

หรือการเป็นซ้ำมีผลลดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณากรรับประทานยาต้นไวรัสทุกวันเพื่อ

ป้องกันเริมกลับเป็นซ้ำ

  1. 9. ควรไปพบแพทย์หากมีอาการรุนแรงหรือไม่สามารถดื่มน้ำหรือกินอาหารได้


     ปัจจุบันไม่มีวิธีในการรักษาการติดเชื้อเริมให้หายขาด แต่ตัวยาที่มีในปัจจุบันจะช่วยบรรเทาอาการและลดโอกาสการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น แม้ว่าโรคนี้จะทาให้เกิดความราคาญและเจ็บปวดได้ แต่ไม่ใชโรคที่อันตราย คนที่เป็นโรคเริม สามารถมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น มีเพศสัมพันธ์และมีชีวิตได้ตามปกติ 

 

การป้องกันการแพร่เชื้อของโรคเริม

     การเป็นเริมที่ปากหรือเริมที่บริเวณอวัยวะเพศ สามารถส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที โดยการติดเชื้อเริมอาจลุกลามไปที่อวัยวะอื่นๆ เช่น การติดเชื้อที่บริเวณดวงตาอาจทำให้สูญเสียการมองเห็นหรือตาบอดและอาจเกิดติดเชื้อที่สมองจนทำให้เกิดสมองอักเสบได้ซึ่งเป็นส่วนน้อย สำหรับกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นสตรีมีครรภ์ที่ติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศและมีอาการแสดงในช่วง 3 เตือนสุดท้ายก่อนคลอด เต็กทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อได้ในขณะคลอดซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจร้ายแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด

 

การป้องกันการแพร่เชื้อของโรคเริม 

 

       ควรระวังการสัมผัสกับผู้อื่นโดยเฉพาะทางน้าลาย เพศสัมพันธ์และทางบาดแผลในช่วงระยะแพร่เชื้อติดต่อให้ผู้อื่นได้เริ่มตั้งแต่มีอาการนาจนกระทั่งแผลหายตกสะเก็ด 


       หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผล น้าลาย สารคัดหลั่งของผู้ป่วย 


       แนะนาให้ใช้ถุงยางทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ 


       การรับประทานยาต้านไวรัสทุกวันสามารถลดการแพร่เชื้อได้ แต่เนื่องจากยามีผลข้างเคียง จึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนการรับประทานยา 


 

ผลิตภัณฑ์สำหรับ เริม (Herpes Simplex) ที่เราแนะนำ

  • Vitech BetaGlucan Plus Rosehip 30 เม็ด. ไวเทค เบต้ากลูแคน พลัส โรสฮิป
    Vitech BetaGlucan Plus Rosehip 30 เม็ด. ไวเทค เบต้ากลูแคน พลัส โรสฮิป

  • Blackmores ECHINACEA 3000 mg.แบลคมอร์ส เอ็กไคนาเซีย
    Blackmores ECHINACEA 3000 mg.แบลคมอร์ส เอ็กไคนาเซีย

  • Blackmores ECHINACEA Liquid 50ml. แบล็คมอร์ เอ็กไคนาเชีย
    Blackmores ECHINACEA Liquid 50ml. แบล็คมอร์ เอ็กไคนาเชีย

  • 365 Lifecare Betaglucan Plus Acerola Cherry 45แคปซูล. 365 ไลฟ์แคร์ เบต้ากลูแคน พลัส อะเซโรล่า เชอร์รี่
    365 Lifecare Betaglucan Plus Acerola Cherry 45แคปซูล. 365 ไลฟ์แคร์ เบต้ากลูแคน พลัส อะเซโรล่า เชอร์รี่

อาการของโรคเริม 

 

     อาการของเริมทุกบริเวณนั้นค่อนข้างคล้ายกัน โดยจะมีตุ่มน้้าใส (Blisters) บริเวณที่ติดเชื้อ ได้แก่ ปาก อวัยวะเพศ ทวารหนัก บั้นท้ายหรือต้นขา อาจแตกเป็นแผลตื้นๆ มักมีอาการเจ็บ ปวดแสบร้อน โดยแผลจะค่อยๆ ตกสะเก็ดและหายในระยะเวลาประมาณ 2-6 สัปดาห์ อาจมีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะหรือต่อมน้าเหลืองโตร่วมด้วยได้ แต่ถ้าหากเป็นการติดเชื้อซ้า อาการจะไม่รุนแรงและหายได้เร็วกว่า เชื้อจะคงอยู่ในร่างกายตลอดชีวิต แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่ทาให้เกิดอาการ อาการจะกลับเป็นซ้าได้เมื่อร่างกายอ่อนแอลงเช่น ป่วย, พักผ่อนไม่เพียงพอ ร่วมกับปัจจัยกระตุ้นต่างๆ 

 

ปัจจัยใดบ้างที่สามารถกระตุ้นทำให้เริมเกิดซ้ำ

 

 ความเครียด 


 โดนแสงแดดหรือลมที่มากเกินไป 


 รอยถลอกขีดข่วน 


 การเจ็บป่วยจากโรคอื่น 


 การได้รับยากดภูมิคุ้มกัน เช่น สเตียรอยด์ 


 การผ่าตัดที่กระทบกระเทือนต่อเส้นประสาท 


 การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน (การมีประจาเดือนในผู้หญิง) 

 

3 ช่องทางแพร่กระจายโรคเริม

  •    enlightened ทางเพศสัมพันธ์ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นทางช่องคลอด องคชาต ปากมดลูก ทวาร หรือปาก ผ่านรอยถลอกของผิวหนัง หรือทางเยื่อเมือก ไม่ว่าจะเป็นน้ำลาย สารคัดหลั่ง แม้กระทั่งการจูบ
  •    enlightened สัมผัสผู้ที่เป็นโรค ที่ทั้งแสดงอาการ หรือไม่แสดงอาการ เช่น ผื่นตุ่มน้ำ รอยโรค มือติดโรคแล้วป้ายเข้าตา
  •    enlightened การกินและการใช้ของใช้ร่วมกัน

 

การรักษาและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเริม 

  1. 1. อาการส่วนใหญ่จะไม่รุนแรงและหายเองได้ โดยเฉพาะเริมที่กลับเป็นซ้ำ
  2. 2. ผู้ป่วยควรพักผ่อนและดื่มน้ำมากๆ
  3. 3. หากมีใข้สูง ควรใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวบ่อยๆ และรับประทานยาพาราเชตามอลเพื่อลดไข้
  4. 4. ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะเกาบริเวณแผล เพื่อป้องกันมิให้ตุ่มติดเชื้อกลายเป็นหนองและแผลเป็น
  5. 5. ใช้น้ำเกลือกลั้วปากและคอหา กมีแผลในปาก
  6. 6. ทำความสะอาดแผลหากมีการแตกของแผลหรือตกสะเก็ด ด้วยสารทำความสะอาดแผล เช่น สำลี, ผ้าก็อซ,แอลกอฮอล์, เบตาดีน, น้ำเกลือ
  7. 7. รับประทานหรือทายาต้านไวรัส เช่น ยาอะไซโคลเวียร์ (Acyclovir)ยาวาลาไซโคลเวียร์ (Valacyclovir) อย่างต่อเนื่องให้ครบคอร์สซึ่งมีทั้งรูปแบบยาเม็ตกินและครีมทา สำหรับการรับประทานยาต้านไวรัสภายใน 48 ชั่วโมงหลังมีอาการ การศึกษาพบว่าสามารถดระยะเวลาการเกิโรคการแร่เชื้อและลดระยะเวลาเจ็บป่วยได้เนื่องจากยามีผลข้างเคียงต่อไต ซึ่งผู้ป่วยโรคไตต้องปรับขนาดยาตามการทำงานของไตโดยอยู่ในการดูแลของแพทย์สำหรับโรคเริมที่เกิดบริเวณอวัยวะเพศยาต้านไวรัสชนิดทาอาจได้ผลน้อย ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัซกรก่อนใช้ยา
  8. 8. หลีกเสี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นให้เริมเกิดเป็นซ้ำ ถ้าเริมเป็นซ้ำบ่อยมากกว่า 6 ครั้งต่อปีหรือเริมที่เป็นซ้ำอาการรุนแรงขึ้น

หรือการเป็นซ้ำมีผลลดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณากรรับประทานยาต้นไวรัสทุกวันเพื่อ

ป้องกันเริมกลับเป็นซ้ำ

  1. 9. ควรไปพบแพทย์หากมีอาการรุนแรงหรือไม่สามารถดื่มน้ำหรือกินอาหารได้


     ปัจจุบันไม่มีวิธีในการรักษาการติดเชื้อเริมให้หายขาด แต่ตัวยาที่มีในปัจจุบันจะช่วยบรรเทาอาการและลดโอกาสการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่น แม้ว่าโรคนี้จะทาให้เกิดความราคาญและเจ็บปวดได้ แต่ไม่ใชโรคที่อันตราย คนที่เป็นโรคเริม สามารถมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น มีเพศสัมพันธ์และมีชีวิตได้ตามปกติ 

 

การป้องกันการแพร่เชื้อของโรคเริม

     การเป็นเริมที่ปากหรือเริมที่บริเวณอวัยวะเพศ สามารถส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที โดยการติดเชื้อเริมอาจลุกลามไปที่อวัยวะอื่นๆ เช่น การติดเชื้อที่บริเวณดวงตาอาจทำให้สูญเสียการมองเห็นหรือตาบอดและอาจเกิดติดเชื้อที่สมองจนทำให้เกิดสมองอักเสบได้ซึ่งเป็นส่วนน้อย สำหรับกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นสตรีมีครรภ์ที่ติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศและมีอาการแสดงในช่วง 3 เตือนสุดท้ายก่อนคลอด เต็กทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อได้ในขณะคลอดซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจร้ายแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด

 

การป้องกันการแพร่เชื้อของโรคเริม 

 

       ควรระวังการสัมผัสกับผู้อื่นโดยเฉพาะทางน้าลาย เพศสัมพันธ์และทางบาดแผลในช่วงระยะแพร่เชื้อติดต่อให้ผู้อื่นได้เริ่มตั้งแต่มีอาการนาจนกระทั่งแผลหายตกสะเก็ด 


       หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผล น้าลาย สารคัดหลั่งของผู้ป่วย 


       แนะนาให้ใช้ถุงยางทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ 


       การรับประทานยาต้านไวรัสทุกวันสามารถลดการแพร่เชื้อได้ แต่เนื่องจากยามีผลข้างเคียง จึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนการรับประทานยา 


 

เอกสารอ้างอิง